วันอังคารที่ 1 มีนาคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 17

วันอาทิตย์ ที่ 27 กุมภาพันธ์ 2554


การสอบสอนเพื่อเชื่อมโยงกับขอบข่ายทางคณิตศาสตร์
กิจกรรมที่นำมาสอนเป็นรูปทรงเลขาคณิต (เป็นกิจกรรมที่เชื่อมโยงเกมการศึกษา)





ข้อดี
1. เด็กได้ค้นหาคำตอบเองจากสิ่งรอบๆตัวเด็กที่เกื่ยวกับรูปทรงเลขาคณิต
2. เด็กมีส่วนร่วมในกิจกรรม
3. เด็กได้ตอบคำถามในกิจกรรม

ข้อปรับปรุง

1. ลำดับขั้นตอนในการสอนคณิตศาสตร์ยังไม่ถูกต้อง
2. สื่อควรมีสีสรรค์ชัดเจน

บันทึกครั้งที่ 16

อาจารย์สอนเกี่ยวกับขอบข่ายคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- มีการยกตัวอย่างประกอบ
- ตอบคำถามในห้องเรียน

วันอังคารที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 15

วันพฤหัสบดีที่ 10 กุมภาพันธ์ 2554



ณิตศาสตร์พาเพลินวิเคราะห์สื่อ จากการดูภาพเกมการศึกษาที่ครอบคลุมขอบข่ายของคณิตศาสตร์








- เกมจับคู่ภาพสัตว์
- เกมจับคู่รอยเท้า
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูปผีเสื้อ
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูคนข้ามถนน
- เกมต่อจิ๊กซอร์รูปฝนตก
- เกมต่อภาพจำนวนที่เท่ากัน
- เกมพื้นฐานการบวก
- เกมจับคู่ภาพแบบอุปมาอุปไมย
- เกมจัดหมวดหมู่ภาพ ด้านหน้า ด้านข้าง ด้านหลัง
- เกมจับคู่ภาพซ้อน- เกมจับคู่ภาพที่แทนด้วยสัญลักษณ์








บันทึกครั้งที่ 14

วันพฤหัสบดีที่3 กุมภาพันธ์ 2554.

วันนี้อาจารย์เนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง การจัดกิจกรรมศิลปะโดยการเชื่อมโยงกับคณิตศสาตร์และวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์มีรูปแบบการสอนเป็น Powerpoint นำเสนอภาพต่างๆให้นักศึกษาได้เห็นถึงการจัดกิจกรรมต่างๆ
เช่นการนำอุปกรณ์ต่างๆมาปั้มให้เกิดเป็นรูปทรงเรขาคณิตและต่อเติมภาพ อุปกรณ์เช่น-เหรียญ,หนังยาง,ฝาขวดน้ำดินสอ,ปากแก้ว

และอาจารย์ก็สอนสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์ เป็นหลักการที่ต้องการปลูกฝังให้แก่เด็กผู้สอนครวที่จะต้องศึกษาสาระสำคัญทางคณิตศาสตร์ของแต่ละสาระในกรอบมาตรฐานการเรียนรู้คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อให้เข้าใจตรงกัน

สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
จำนวนนับเป็นการบอกจำนวนของสิ่งของต่างๆ หนึ่ง สอง สาม สี่ ห้า และศูย์ไม่ใช่จำนวนนับ ตัวเลขเป็นสัญลักษณะของการแสดงจะนวน
พื้นฐานที่ใช้ในการเขียนแสดงจำนวนเรียกว่า เลขโดดในระบบ
เลขฐานสิบมี สิบตัว

สาระที่ 2 การวัด
คือการหาความยาวตามแนวนอน การวัดความสูงเป็นการหาความยาวแนวตั้ง การวัดความยาวความสูงของสิ่งต่างๆ อาจใช้เครื่องที่มีหน่วย หรือไม่ใช้หน่วยมาตฐาน เช่น ยาวกว่า สั้นกว่า สูงกว่า เตี้ยกว่า ยาวเท่ากัน/สูงเท่ากัน เป็นการใช่เปรียบเทียบความยาว/ความสูงของสิ่งต่างๆ
การเรียกลำดับความยาว/ความสูง อาจเรียกจากน้อยไปมากหรือมากไปหาน้อย
การชั่ง นำหนักของสิ่งต่างๆอาจใช่เครื่องวัด ชั่งน้ำหนักที่มีหน่วยไม่ใช่มาตรฐาน หนักกว่า เบากว่า เป็นการเปรียบเทียบน้ำหนักสิ่งของ การตวง การเรียง
ปริมาตร


สาระที่ 3 เรขาคณิต
ข้างล่าง ช้างบน ข้างใน เป็นคำที่ใช้บอกตำแหน่ง ทิศทา


สาระที่ 4 พีชคณิต
แบบรูปเป็น ความสัมผัสที่แสดงลักษณะสำคัญร่วมของชุดของจำนวนรูปเลขาคณิต หรือสิ่งๆๆ

สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น
การเก็บรวมรวบข้อมูลอาจใช้วิธีการสังเกตหรือสอบถามก็ได้ แผนถูมิรูปภาพเป็นการนำเสนอข้อมูลอย่างง่ายโดยใช้รูปภาพแสดง จำนวนของสิ่งต่างๆ อาจวาดรูปตามแนวนอนหรือแนวตั้งก้ได้

วันอังคารที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 13

วันที่ 27 มกราคม 2554
ให้นักศึกษาแบ่งออกเป็น 6กลุ่ม กลุ่มละ4-5คน....คิดหน่วยการเรียนรู้ ทำ Mind mapการใช้ขอบข่ายของกระบวนการทางคณิตศาตร์เขียนแผนการจัดประสบการณ์ 4 วัน โดยสอดแทรกกระบวนการทางคณิตศาสตร์เขียนแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม
กลุ่มเราทำเรื่องปลา

วันจันทร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 12

วันที่ 20 มกราคม

คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์

ตัวเลข เช่น การนับวันที่ เวลาจากตอนเช้า เที่ยง เย็น
ขนาด เช่น เล็ก ใหญ่ กลาง กว้าง
รูปร่าง เช่น สูง เตี้ย อ้วน บ้าง
ที่ตั้ง เช่น ก่อนจะถึงบ้านเราสามบ้านเป็นบ้านป้า
ค่าของเงิน
ความเร็ว เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสิ่งที่ทำ คือ ระยะทางกับเวลา
อุณหถูมิ เช่น ร้อน เย็น หนาว อบอุ่น

มาตรฐานการวัดในระบบเมตริก

- คำศัพท์ที่เด็กควรทราบ
- ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
- การวัดเครื่องเวลา

หลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้

1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเอง

หลักการทางคณิตศาสตร์

ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็ก
และขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัยอย่างดีด้วย เช่น
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. เปิดโอกาศให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวมยอดของเด็ก
5. ใช้การจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใช้ประโยชน์จากประการณ์เดิมของเด็ก
7. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริง

เพลง นกกระจิ๊บ

นั้นนกบินมาลิบลิบ นกกระจิ๊บ 1 2 3 4 5
อีกฝูงบินล่องลอยมา 7 8 9 10

บันทึกครั้งที่ 11

วันที่ 15 มกราคม
( วันเสาร์เรียนชดเชยวันที่ 13 มกราคม )

ต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว

คณิตศาสตร์ เป็นสิ่งรอบตัวเรา


-ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับคณิตศาสตร์ เช่น จากน้อยไปหามาก
-การเปรียบเทียบ คือการจัดลำดับไปหาค่า การนับและบวกจำนวน
-การวัดลำดับ
-ส่งเสริมให้เด็กได้ค้นหาคำตอบเอง
-รูปทรงและเนื้อที่
-การวัด

ประโยชน์จากประสบการเดิมของเด็ก
- เช่น กิจกรรมการนับผลไม้แต่ละชนิด จะบอกถึงจำนวน ตัวเลข


เพลง สวัสดียามเช้า

ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุรแม่คุณพ่อ ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นล้า หลั่นล้า หลั่นล้า ล้า





สวัสดีคุณครู

สวัสดีคุณครูที่รัก หนูจะตั้งใจอ่านเขียน
ยามเช้าเรามาโรงเรียน หนูจะพากเพียงขยันเรียนเอย