วันที่ 27 มกราคม 2554
ให้นักศึกษาแบ่งออกเป็น 6กลุ่ม กลุ่มละ4-5คน....คิดหน่วยการเรียนรู้ ทำ Mind mapการใช้ขอบข่ายของกระบวนการทางคณิตศาตร์เขียนแผนการจัดประสบการณ์ 4 วัน โดยสอดแทรกกระบวนการทางคณิตศาสตร์เขียนแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม
กลุ่มเราทำเรื่องปลา
แฟ้มงานรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันอังคารที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2554
วันจันทร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2554
บันทึกครั้งที่ 12
วันที่ 20 มกราคม
คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
ตัวเลข เช่น การนับวันที่ เวลาจากตอนเช้า เที่ยง เย็น
ขนาด เช่น เล็ก ใหญ่ กลาง กว้าง
รูปร่าง เช่น สูง เตี้ย อ้วน บ้าง
ที่ตั้ง เช่น ก่อนจะถึงบ้านเราสามบ้านเป็นบ้านป้า
ค่าของเงิน
ความเร็ว เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสิ่งที่ทำ คือ ระยะทางกับเวลา
อุณหถูมิ เช่น ร้อน เย็น หนาว อบอุ่น
มาตรฐานการวัดในระบบเมตริก
- คำศัพท์ที่เด็กควรทราบ
- ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
- การวัดเครื่องเวลา
หลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเอง
หลักการทางคณิตศาสตร์
ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็ก
และขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัยอย่างดีด้วย เช่น
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. เปิดโอกาศให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวมยอดของเด็ก
5. ใช้การจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใช้ประโยชน์จากประการณ์เดิมของเด็ก
7. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริง
เพลง นกกระจิ๊บ
นั้นนกบินมาลิบลิบ นกกระจิ๊บ 1 2 3 4 5
อีกฝูงบินล่องลอยมา 7 8 9 10
คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
ตัวเลข เช่น การนับวันที่ เวลาจากตอนเช้า เที่ยง เย็น
ขนาด เช่น เล็ก ใหญ่ กลาง กว้าง
รูปร่าง เช่น สูง เตี้ย อ้วน บ้าง
ที่ตั้ง เช่น ก่อนจะถึงบ้านเราสามบ้านเป็นบ้านป้า
ค่าของเงิน
ความเร็ว เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับสิ่งที่ทำ คือ ระยะทางกับเวลา
อุณหถูมิ เช่น ร้อน เย็น หนาว อบอุ่น
มาตรฐานการวัดในระบบเมตริก
- คำศัพท์ที่เด็กควรทราบ
- ระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
- การวัดเครื่องเวลา
หลัดสูตรการสอนต้องมีความสมดุลในเรื่องต่อไปนี้
1. เน้นกระบวนการคิดและพัฒนาความคิดรวมยอด
2. เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรมในชีวิตประจำวัน
3. แนะนำคำศัพท์ใหม่และสัญลักษณ์อย่างค่อยเป็นค่อยไป
4. ส่งเสริมให้เด็กเกิดความเชื่อมั่นและค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อให้ได้คำตอบ
5. ส่งเสริมให้เด็กเกิดการรับรู้สามารถบรรยายและค้นคว้าเพิ่มเติม
6. เน้นให้เด็กเกิดความคิดรวมยอดมีทักษะทางคณิตศาสตร์ไปพร้อมกัน เช่น การทดลองที่เกิดจากการนับจำนวน จากกิจกรรม
7. เปิดโอกาศให้เด็กได้ค้นคว้าสำรวจปฎิบัติรู้จักการตัดสินใจด้วยตนเอง
หลักการทางคณิตศาสตร์
ครูที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการธรรมชาติของเด็ก การเรียนรู้ของเด็ก
และขอบข่ายหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับปฐมวัยอย่างดีด้วย เช่น
1. สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
2. เปิดโอกาศให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4. เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนการพัฒนาความคิดรวมยอดของเด็ก
5. ใช้การจดบันทึกพฤติกรรม เพื่อใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6. ใช้ประโยชน์จากประการณ์เดิมของเด็ก
7. รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นให้เป็นประโยชน์
8. ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริง
เพลง นกกระจิ๊บ
นั้นนกบินมาลิบลิบ นกกระจิ๊บ 1 2 3 4 5
อีกฝูงบินล่องลอยมา 7 8 9 10
บันทึกครั้งที่ 11
วันที่ 15 มกราคม
( วันเสาร์เรียนชดเชยวันที่ 13 มกราคม )
ต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว
คณิตศาสตร์ เป็นสิ่งรอบตัวเรา
-ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับคณิตศาสตร์ เช่น จากน้อยไปหามาก
-การเปรียบเทียบ คือการจัดลำดับไปหาค่า การนับและบวกจำนวน
-การวัดลำดับ
-ส่งเสริมให้เด็กได้ค้นหาคำตอบเอง
-รูปทรงและเนื้อที่
-การวัด
ประโยชน์จากประสบการเดิมของเด็ก
- เช่น กิจกรรมการนับผลไม้แต่ละชนิด จะบอกถึงจำนวน ตัวเลข
เพลง สวัสดียามเช้า
ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุรแม่คุณพ่อ ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นล้า หลั่นล้า หลั่นล้า ล้า
สวัสดีคุณครู
สวัสดีคุณครูที่รัก หนูจะตั้งใจอ่านเขียน
ยามเช้าเรามาโรงเรียน หนูจะพากเพียงขยันเรียนเอย
( วันเสาร์เรียนชดเชยวันที่ 13 มกราคม )
ต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว
คณิตศาสตร์ เป็นสิ่งรอบตัวเรา
-ความสัมพันธ์ระหว่างเวลากับคณิตศาสตร์ เช่น จากน้อยไปหามาก
-การเปรียบเทียบ คือการจัดลำดับไปหาค่า การนับและบวกจำนวน
-การวัดลำดับ
-ส่งเสริมให้เด็กได้ค้นหาคำตอบเอง
-รูปทรงและเนื้อที่
-การวัด
ประโยชน์จากประสบการเดิมของเด็ก
- เช่น กิจกรรมการนับผลไม้แต่ละชนิด จะบอกถึงจำนวน ตัวเลข
เพลง สวัสดียามเช้า
ตื่นเช้าแปรงฟันล้างหน้า อาบน้ำแล้วมาแต่งตัว
กินอาหารของดีมีทั่ว หนูเตรียมตัวจะไปโรงเรียน
สวัสดีคุรแม่คุณพ่อ ไม่รีรอรีบไปโรงเรียน
หลั่นล้า หลั่นล้า หลั่นล้า หลั่นล้า ล้า
สวัสดีคุณครู
สวัสดีคุณครูที่รัก หนูจะตั้งใจอ่านเขียน
ยามเช้าเรามาโรงเรียน หนูจะพากเพียงขยันเรียนเอย
บันทึกครั้งที่ 10
วันที่ 6 มกราคม 2554
คณิตศาสตร์ คือ การจัดเตรียมกิจกรรมที่มีการวางแผนของครูเป็นอย่างดีจากประสบการณ์สำคัญ เป็นสิ่งที่เด็กได้รับเกิดทักษะ
ตามหลักของพียเจต์
-ด้านความรู้ทางกายภาพ
เป็นความรู้จากการใช้ประสาทสัมผัส ความรู้ภายนอกที่เกิดจากการปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยตรง
-ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์
เกิดจาภายในที่เกิดจากการเชื่องโยงเข้ากับทฤษฎีโดยการลงมือกระทำที่เป็นผลสะท้อนนั้นเอง เป็นความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาตร์เกิดขึ้นหลังที่เด็กลงมือกระทำ
จุดมุ่งหมายการสอน
-เพื่อพัฒนาความคิดรวมยอดเกี่ยวกับคณิตศาตร์ เช่น การบวก การเพิ่ม การลด หรือการลบ
-เพื่อให้เด็กรู้การใช้กระบวกการในการหาคำตอบ
-เพื่อให้เด็กเข้าใจความรู้พื้นฐานคณิตศาตร์ เช้นรู้จักคำศัพท์และสัญลักษณ์
-ให้เด็กฝึกคณิตศาตร์พื้นฐาน เช่นการนับ การวัด การจับคู่ ประเภท
ขอบข่ายของหลักสูตร
การนับ เป็นคณิตศาตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลข เป็นอันดับแรกที่เด็กรู้จักคือการนับ
ตัวเลข ให้เด็กเห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน
คณิตศาสตร์ คือ การจัดเตรียมกิจกรรมที่มีการวางแผนของครูเป็นอย่างดีจากประสบการณ์สำคัญ เป็นสิ่งที่เด็กได้รับเกิดทักษะ
ตามหลักของพียเจต์
-ด้านความรู้ทางกายภาพ
เป็นความรู้จากการใช้ประสาทสัมผัส ความรู้ภายนอกที่เกิดจากการปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมโดยตรง
-ความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาสตร์
เกิดจาภายในที่เกิดจากการเชื่องโยงเข้ากับทฤษฎีโดยการลงมือกระทำที่เป็นผลสะท้อนนั้นเอง เป็นความรู้ด้านเหตุผลทางคณิตศาตร์เกิดขึ้นหลังที่เด็กลงมือกระทำ
จุดมุ่งหมายการสอน
-เพื่อพัฒนาความคิดรวมยอดเกี่ยวกับคณิตศาตร์ เช่น การบวก การเพิ่ม การลด หรือการลบ
-เพื่อให้เด็กรู้การใช้กระบวกการในการหาคำตอบ
-เพื่อให้เด็กเข้าใจความรู้พื้นฐานคณิตศาตร์ เช้นรู้จักคำศัพท์และสัญลักษณ์
-ให้เด็กฝึกคณิตศาตร์พื้นฐาน เช่นการนับ การวัด การจับคู่ ประเภท
ขอบข่ายของหลักสูตร
การนับ เป็นคณิตศาตร์ที่เกี่ยวกับตัวเลข เป็นอันดับแรกที่เด็กรู้จักคือการนับ
ตัวเลข ให้เด็กเห็นหรือใช้ในชีวิตประจำวัน
วันพุธที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)